Understanding
Goal (เป้าหมายของความเข้าใจ): นักเรียนเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง
และอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างศานติ ตลอดจนสามารถเรียนรู้วิถีชุมชนนั้นๆแล้วนำมาปรับใช้ในชีวิตได้อย่างเหมาะสม
Big Question :( คำถามหลัก):
ทำไมต้องมาโรงเรียน?
ภูมิหลังของปัญหา : โรงเรียนถือว่าเป็นสถานศึกษาที่สำคัญของคนแต่ละช่วงวัย ไม่ใช่สถานที่ที่ให้ความรู้ทางวิชาการเพียงอย่างเดียว แต่โรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ที่ช่วยส่งเสริมคุณลักษณะ และทักษะชีวิตให้กับนักเรียนในด้านการคิดเป็น ทำเป็น อยู่เป็น และเกิดการเรียนรู้ ตลอดจนเข้าใจวิถีชุมชนภายใต้ข้อตกลงเดียวกัน ยอมรับข้อแตกต่างระหว่างบุคคล เคารพต่อสรรพสิ่ง แต่ส่วนใหญ่นักเรียนในวัยอนุบาลมักจะกลัวการมาโรงเรียน นั่นอาจเป็นเพราะว่าสภาพแวดล้อมที่ไม่คุ้นชินต่อการเรียนรู้ รวมถึงบุคคลที่อยู่ในโรงเรียนที่นักเรียนยังไม่รู้จัก และคุ้นเคย ดังนั้นนักเรียนควรได้เรียนรู้วิถีชุมชนในโรงเรียน รวมถึงการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมและสามารถนำมาปรับใช้ในวิถีชีวิตสังคมในปัจจุบัน โดยเชื่อมโยงกับทุกสรรพสิ่งที่อยู่รอบตัวได้อย่างเหมาะสม
ภูมิหลังของปัญหา : โรงเรียนถือว่าเป็นสถานศึกษาที่สำคัญของคนแต่ละช่วงวัย ไม่ใช่สถานที่ที่ให้ความรู้ทางวิชาการเพียงอย่างเดียว แต่โรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ที่ช่วยส่งเสริมคุณลักษณะ และทักษะชีวิตให้กับนักเรียนในด้านการคิดเป็น ทำเป็น อยู่เป็น และเกิดการเรียนรู้ ตลอดจนเข้าใจวิถีชุมชนภายใต้ข้อตกลงเดียวกัน ยอมรับข้อแตกต่างระหว่างบุคคล เคารพต่อสรรพสิ่ง แต่ส่วนใหญ่นักเรียนในวัยอนุบาลมักจะกลัวการมาโรงเรียน นั่นอาจเป็นเพราะว่าสภาพแวดล้อมที่ไม่คุ้นชินต่อการเรียนรู้ รวมถึงบุคคลที่อยู่ในโรงเรียนที่นักเรียนยังไม่รู้จัก และคุ้นเคย ดังนั้นนักเรียนควรได้เรียนรู้วิถีชุมชนในโรงเรียน รวมถึงการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมและสามารถนำมาปรับใช้ในวิถีชีวิตสังคมในปัจจุบัน โดยเชื่อมโยงกับทุกสรรพสิ่งที่อยู่รอบตัวได้อย่างเหมาะสม
ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ
PBL (Problem
Based Learning)
หน่วย : เรามาทำอะไรที่นี่? ระดับชั้นอนุบาล 2 ภาคเรียนที่
1 (Quarter 2) ปีการศึกษา 2558
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนสามารถแสดงความเข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ได้
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
1
10-14 ส.ค.58
|
โจทย์ :
- สร้างแรงบันดาลใจ/สร้างฉันทะในการเรียนรู้
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- ชื่อหน่วยการเรียนรู้
Key Question
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร?
ทำไมถึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
Walk and talk :
Card & Chart : Blackboard Share : Show and Share : |
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจสถานที่ต่างๆภายในโรงเรียน
เช่น ฟาร์ม แปลงนา บ้านมัธยม
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด "นักเรียนเห็นอะไรบ้างและรู้สึกอย่างไร?" "มีใครทำอะไรที่ไหนบ้าง? แล้วทำอย่างไร"
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเดินสำรวจโรงเรียน
- วาดภาพสิ่งที่ประทับจากการเดินสำรวจโรงเรียน
- ครูให้นักเรียนดูคลิปวิดีโอ
"เกี่ยวกับโรงเรียนนอกกะลา"
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
" นักเรียนเห็นอะไรบ้างและรู้สึกอย่างไร? "
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเดินสำรวจโรงเรียน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิดีโอเกี่ยวกับโรงเรียนนอกกะลา
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเพลงโรงเรียนนอกกะลา
- พูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้
ชิ้นงาน
- วาดภาพสิ่งที่ประทับใจจากเดินสำรวจโรงเรียน
- วาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้
|
ความรู้
- เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการสังเกต
|
||
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในโรงเรียน
- วิดีโอของโรงเรียนเกี่ยวกับโรงเรียน
- นิทาน
- เพลง
|
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคลิปวิดีโอของโรงเรียน
- วาดภาพโรงเรียนของฉัน
# การบ้านให้นักเรียนไปคิดเรื่องที่อยากเรียนรู้พร้อมกับตั้งชื่อหน่วยที่น่าสนใจ#
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
"โรงเรียนนอกกะลา"
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
"นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร? เพราะเหตุใด?"
- ครูแจกกระดาษการ์ดให้นักเรียนแต่ละคนโดยให้นักเรียนวาดภาพเรื่องที่อยากเรียนรู้
1 เรื่อง ต่อการ์ด 1 แผ่น (Card & Chart)
- ครูและนักเรียนร่วมกันจัดหมวดหมู่เรื่องที่ต้องการเรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนช่วยกันตั้งชื่อหน่วยร่วมกัน
- นักเรียนวาดภาพประกอบชื่อหน่วย
- ครูเล่านิทานโรงเรียนแสนสุขให้นักเรียนฟัง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด"นักเรียนเห็นใครบ้าง?เกิดอะไรขึ้น?ถ้าเป็นนักเรียนจะทำอย่างไร?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากนิทานที่ได้ฟัง
- พิมพ์ภาพตัวละครจากใบไม้
|
พิมพ์ภาพตัวละครจากใบไม้
|
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆมีน้ำใจช่วยเหลือ
แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
|||
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นและอธิบายสิ่งที่ตนเองรู้และอยากเรียนรู้โดยให้เหตุผลเพื่อสร้างความเข้าใจของตนเองได้
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
2
17-21 ส.ค. 58
|
โจทย์:
สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
Key Question
นักเรียนรู้เรื่องอะไรบ้างและอยากเรียนรู้เรื่องอะไรเกี่ยวกับโรงเรียน
?
เครื่องมือคิด
Brainstorms:
Think Pair Share :
Black board Share :
Wall Think : Show and Share :
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
-นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- นิทานเรื่อง"กุ๋งกิ๋งไปโรงเรียน
- เพลง"โรงเรียนนอกกะลา"
|
- ครูเล่านิทานเรื่อง
"กุ๋งกิ๋งไปโรงเรียน"
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
"ถ้าให้นักเรียนเลือกเป็นสิ่งใดสิ่งหนึ่งในเรื่องอยากจะเป็นอะไร?
เพราะเหตุใด?"
-
ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานที่ฟัง
- การบ้านวาดภาพตัวละครที่ประทับใจ
-
ครูพานักเรียนทำการทดลองเพาะถั่วงอกเพื่อสามารถนำไปใช้เป็นทักษะชีวิตได้
- ครูอธิบายขั้นตอนและอุปกรณ์ในการทำการทดลอง
- ครูและนักเรียนร่วมกันกันทำการทดลองเป็นกลุ่ม
-
ครูให้นักเรียนสังเกตถั่วงอกที่ได้ทำการทดลองไว้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด"นักเรียนสังเกตเห็นอะไร?
เป็นอย่างไร?นักเรียนคิดว่าถั่วจะใช้เวลางอกกี่วัน?
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
"โรงเรียนนอกกะลา"
- ครูใช้คำถามกระตุ้นกระตุ้นการคิด "
ทำไมถึงเรียกว่าโรงเรียนนอกกะลา "
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเพลงที่ได้ฟัง
- นักเรียนปั้นดินน้ำมันโรงเรียนของหนูเป็นกลุ่ม
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
"นักเรียนรู้เรื่องอะไรบ้างเกี่ยวกับโรงเรียน
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด "นักเรียนอยากรู้เรื่องอะไรบ้างเกี่ยวกับโรงเรียน?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด "ตลอดทั้งสัปดาห์นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานเรื่อง "
กุ๋งกิ๋งไปโรงเรียน"
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเพลงที่ได้ฟัง
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองรู้
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
ชิ้นงาน
- วาดภาพตัวละครที่ประทับใจ
- ปั้นดินน้ำมันโรงเรียนของหนู
|
ความรู้ :
สามารถแสดงความคิดเห็นและอธิบายสิ่งที่ตนเองรู้และอยากเรียนรู้โดยให้เหตุผลเพื่อสร้างความเข้าใจของตนเองได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด :
ทักษะสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการสังเกต
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆมีน้ำใจช่วยเหลือ
แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
||
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆภายในโรงเรียนตลอดจนบุคคลที่เกี่ยวข้องและการใช้สถานที่ร่วมกับผู้อื่นได้
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
3
24-28 ส.ค. 58
|
โจทย์ :
สถานที่ในโรงเรียนและข้อปฏิบัติ
- อาคารธุรการ
- ห้องสมุด
- อาคารอนุบาล
- อาคารประถม
- บ้านมัธยม
- โรงอาหาร
- ฟาร์ม
- บ้านพักครู
- ป้อมยาม
- ห้องน้ำ
Key Questions
- นักเรียนจะปฏิบัติตนอย่างไรเมื่อไปใช้สถานที่ร่วมกับผู้อื่น?
เครื่องมือคิด
Brainstoms:
Walk and talk :
Think Pair Share :
Black board Share :
Wall Thinking :
Show and Share :
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- บุคลากรในโรงเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศสถานที่ต่างๆในโรงเรียน
|
- ครูพานักเรียนสำรวจรอบๆอาคารอนุบาล
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดดังนี้
"
นักเรียนเห็นอะไรบ้าง? "
"
เราจะช่วยกันดูแลอาคารอนุบาลอย่างไร? "
" เวลาเราอยู่ในห้องเรียนจะทำอย่างไร?"
"
เราจะช่วยกันดูแลห้องเรียนอย่างไร? "
" เราจะใช้อาคารร่วมกับน้องอย่างไร?
"
" เราจะใช้และดูแลสนามเด็กเล่นร่วมกับน้อง
อย่างไร"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานที่ในอาคารอนุบาล
- นักเรียนวาดภาพตึกอนุบาลในมุมที่ประทับใจแล้วเขียนสรุปการใช้และดูแลร่วมกันลงในสมุดนักสำรวจน้อย
- ครูพานักเรียนสำรวจห้องน้ำภายในอาคารอนุบาล
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดดังนี้
" นักเรียนคิดว่าห้องน้ำมีไว้ทำอะไรบ้าง?"
" เราจะใช้ห้องน้ำร่วมกันอย่างไร?"
" เราจะช่วยกันดูแลห้องน้ำอย่างไร?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสำรวจห้องน้ำในอาคารอนุบาล
- นักเรียนวาดภาพห้องน้ำที่ไปสำรวจมาแล้วเขียนสรุปการใช้และดูแลร่วมกันลงในสมุดนักสำรวจน้อย
- ครูพานักเรียนสำรวจอาคารธุรการ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดดังนี้
" นักเรียนเห็นใครบ้าง?และใครทำอะไรอยู่?"
" นักเรียนคิดว่าอาคารธุรการมีไว้ทำอะไรบ้าง?"
" นักเรียนจะทำอย่างไรเมื่อไปใช้อาคารธุรการ?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการไปสำรวจอาคารธุรการ
- นักเรียนเขียนสรุปการใช้อาคารร่วมกันลงในสมุดนักสำรวจน้อย
- ครูพานักเรียนไปสำรวจห้องสมุด
- ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิด
"นักเรียนเห็นใครบ้าง?" และทำอะไร?"
- บรรณารักษ์มาให้ความรู้เกี่ยวกับหน้าที่ของบรรณารักษ์
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
" นักเรียนจะทำอย่างไรเมื่อมายืมหนังสือ
?"
" นักเรียนจะช่วยกันดูแลห้องสมุดอย่างไร?
"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการไปสำรวจห้องสมุด
- นักเรียนเขียนสรุปการใช้ห้องสมุดร่วมกันลงในสมุดนักสำรวจน้อย
นักเรียนช่วยกันจัดหนังสือในมุมต่างๆ
- ครูพานักเรียนทำสมุนไพรไล่ยุงเพื่อให้นักเรียนได้ทราบถึงประโยชน์ของสมุนไพร
- ครูอธิบายอุปกรณ์ที่นำมาใช้ในการทดลองเช่น
สมุนไพรต่างๆ
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 5 กลุ่มแล้วจับฉลากสมุนไพรที่นำมาทำเช่น
ตะไคร้ มะกรูด ส้ม
- ครูอธิบายถึงขั้นตอนการทำการทดลอง
- ครูและนักเรียนร่วมกันทำการทดลอง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด "ตลอดทั้งสัปดาห์นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานที่ในอาคารอนุบาล
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสำรวจห้องน้ำในอาคารอนุบาล
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการไปสำรวจอาคารธุรการ
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการไปสำรวจห้องสมุด
ชิ้นงาน
- วาดภาพตึกอนุบาลในมุมที่ประทับใจ
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆภายในโรงเรียนรวมถึงบุคคลที่เกี่ยวข้องและการใช้สถานที่ร่วมกับผู้อื่นได้
ทักษะ
ทักษะการคิด :
ทักษะสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการสังเกต
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆมีน้ำใจช่วยเหลือ
แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
||
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆภายในโรงเรียนตลอดจนบุคคลที่เกี่ยวข้องและการใช้สถานที่ร่วมกับผู้อื่นได้
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
4
31 ส.ค. - 4 ก.ย. 58
|
โจทย์ :
บทบาทบุคลากรในโรงเรียน
- ครู
- ผู้ปกครอง
- นักเรียน
- ช่างซ่อมบำรุง
- แม่ครัว/แม่บ้าน
- บรรณารักษ์
- คนสวน
Key Questions
- ใครทำหน้าที่อะไรบ้าง ? อยู่ที่ไหน?
- แต่ละบุคคลมีหน้าที่เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorm :
Think Pair Share :
Black board Share :
Wall Thinking :
Show and Share :
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- บุคลากรในโรงเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- อาคารประถม
- บ้านมัธยม
- ฟาร์ม
- บ้านพักครู
|
- ครูพานักเรียนสำรวจอาคารประถม
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
"นักเรียนเห็นอะไรบ้าง"นักเรียนจะทำอย่างไรบ้างเมื่อมาใช้อาคารประถม?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการไปสำรวจอาคารประถม
แล้วเขียนสรุปการใช้อาคารประถมร่วมกันลงในสมุดนักสำรวจน้อย
- ครูพานักเรียนสำรวจบ้านมัธยม
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด " นักเรียนเห็นอะไรบ้าง
? นักเรียนจะทำอย่างไรบ้างเมื่อมาใช้บ้านมัธยม ? อาคารอนุบาล อาคารประถม
บ้านมัธยมมีลักษณะเหมือนหรือต่างกันอย่างไร?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการไปสำรวจบ้านมัธยม
- นักเรียนวาดภาพบ้านมัธยมและบริเวณรอบๆและเขียนสรุปการใช้บ้านมัธยมร่วมกันลงในนักสำรวจน้อย
- ครูพานักเรียนไปสำรวจฟาร์ม
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด " นักเรียนเห็นอะไรบ้าง?
ได้กลิ่นอะไรบ้าง? เห็นใครทำอะไร?
และจะทำอย่างไรเมื่อมาที่ฟาร์ม?"
- เชิญคุณลุงที่ดูแลฟาร์มมาพูดคุยเกี่ยวกับหน้าที่ของคุณลุง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด" นักเรียนคิดว่าคนสวนมีหน้าที่อะไรบ้าง?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการไปสำรวจฟาร์ม
- ปั้นดินน้ำมันฟาร์มของหนูเป็นกลุ่มและเขียนการใช้สถานที่ร่วมกันลงในสมุดนักสำรวจน้อย
- ครูพานักเรียนไปสำรวจบริเวณบ้านพักครู
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด " นักเรียนเห็นอะไรบ้าง ?
และจะทำอย่างไรเมื่อมาบริเวณนี้?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเดินสำรวจบ้านพักครู
- นักเรียนเขียนสรุปการใช้สถานที่ร่วมกันลงในสมุดนักสำรวจน้อย
- ครูพานักเรียนทำกับดักยุงจากขวดพลาสติกเพื่อให้นักเรียนได้นำขวดน้ำที่ใช้แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์
- อธิบายอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลองว่ามีอะไรบ้างเช่น ขวดน้ำ น้ำตาล น้ำ
ยีสต์
- ครูอธิบายขั้นตอนการทำการทดลอง
- ครูและนักเรียนร่วมกันทำการทดลองเป็นกลุ่ม
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด "ตลอดทั้งสัปดาห์นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการไปสำรวจอาคารประถม
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการไปสำรวจบ้านมัธยม
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการไปสำรวจฟาร์ม
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเดินสำรวจบ้านพักครู
ชิ้นงาน
- วาดภาพบ้านมัธยมและบริเวณรอบๆ
- ปั้นดินน้ำมันฟาร์มของหนู
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆภายในโรงเรียนรวมถึงบุคคลที่เกี่ยวข้องและการใช้สถานที่ร่วมกับผู้อื่นได้
ทักษะ
ทักษะการคิด :
ทักษะสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการสังเกต
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆมีน้ำใจช่วยเหลือ
แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
||
เป้าหมายรายสัปดาห์ :นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆภายในโรงเรียนตลอดจนบุคคลที่เกี่ยวข้องและการใช้สถานที่ร่วมกับผู้อื่นได้
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
5
7 - 11 ก.ย. 58
|
โจทย์ :
บทบาทบุคลากรในโรงเรียน
- ครู
- ผู้ปกครอง
- นักเรียน
- ช่างซ่อมบำรุง
- แม่ครัว/แม่บ้าน
- บรรณารักษ์
- คนสวน
Key Question
ทำไมต้องมีโรงอาหาร?
Brainstorm :
Think Pair Share :
Black board Share :
Wall Thinking :
Show and Share :
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- บุคลากรในโรงเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- โรงอาหาร
- ห้องดนตรี
- เกมจับคู่
- เกมจับฉลากชื่อของบุคลากรในโรงเรียน
|
-
ครูพานักเรียนไปสำรวจโรงอาหารและพูดคุยกับแม่ครัวถึงบทบาทหน้าที่ของแม่ครัว
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดดังนี้
"นักเรียนจะทำอย่างไรเมื่อมาใช้โรงอาหาร?"
" นักเรียนได้กลิ่นอะไรบ้าง?
รสชาติเป็นอย่างไร?"
" นักเรียนจะใช้โรงอาหารร่วมกับน้องอย่างไร?"
" นักเรียนจะช่วยดูแลโรงอาหารอย่างไร?"
" นักเรียนคิดว่าแม่ครัวมีหน้าที่อะไรบ้าง?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการไปสำรวจโรงอาหารและบทบาทของแม่ครัว
- นักเรียนวาดรูปโรงอาหารของเราและเขียนสรุปการใช้โรงอาหารและบทบาทของแม่ครัวลงในสมุดนักสำรวจน้อย
- ครูพานักเรียนไปสำรวจห้องดนตรี
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด "
นักเรียนเห็นอะไรบ้าง? นักเรียนคิดว่าทำไมถึงต้องมีห้องดนตรี?”ราจะช่วยดูแลห้องดนตรีและเครื่องดนตรีอย่างไร?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการไปสำรวจห้องดนตรี
- นักเรียนช่วยกันทำความสะอาดห้องดนตรีเครื่องดนตรีและนักเรียนสรุปร่วมกันจากการไปสำรวจห้องดนตรีและเขียนลงในสมุดนักสำรวจน้อย
- ครูพานักเรียนเล่นเกมจับคู่สถานที่ต่างๆภายในโรงเรียนกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับสถานที่นั้นๆ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด "นักเรียนคิดว่าสถานที่กับบุคคลเกี่ยวข้องกันอย่างไร?"
เช่น ทำไมแม่ครัวถึงอยู่ที่โรงอาหาร?
ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ
ปั้นดินน้ำมันบุคคลและสถานที่ๆเกี่ยวข้องที่ประทับใจ
- ครูให้นักเรียนจับฉลากชื่อของบุคลากรในโรงเรียนให้นักเรียนไปหาบุคคลตามชื่อว่าใครทำอะไร
อยู่ที่ไหน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
"ใครทำหน้าที่อะไร อยู่ที่ไหน?
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนวาดภาพบุคลากรในโรงเรียน
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด "ตลอดทั้งสัปดาห์นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานที่ที่ไปสำรวจ
ชิ้นงาน
- นักเรียนวาดรูปโรงอาหารของเรา
- ปั้นดินน้ำมันบุคคลและ
- สถานที่ๆเกี่ยวข้องที่ประทับใจ
- วาดภาพบุคลากรในโรงเรียน
- สมุดนักสำรวจน้อย
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆภายในโรงเรียนรวมถึงบุคคลที่เกี่ยวข้องและการใช้สถานที่ร่วมกับผู้อื่นได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การเลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ
ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่าและเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด :
ทักษะสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการสังเกต
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆมีน้ำใจช่วยเหลือ
แบ่งปัน
ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
||
เป้าหมายรายสัปดาห์ :นักเรียนเข้าใจและเห็นความสำคัญของสถานที่ในชุมชนรวมถึงการปฏิบัติตนร่วมกับผู้อื่นได้
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
6
15-18 ก.ย. 58
|
โจทย์ :
- วัด
- ตลาด
- สถานีตำรวจ
- สถานีรถไฟ
- โรงพยาบาล
Key Question
นักเรียนจะปฏิบัติตนอย่างไรเมื่อไปใช้สถานที่ต่างๆในชุมชน?
เครื่องมือคิด
Brainstorm :
Think Pair Share :
Black board Share :
Wall Thinking :
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- บุคลากรในสถานที่ต่างๆ
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-สถานีรถไฟ
-วนอุทยานแห่งชาติเขากระโดง
-ทดลองทำน้ำยาล้างจาน
-เกมโยงจับคู่
|
- ครูนำบัตรภาพสถานที่ต่างๆในชุมชนมาให้นักเรียนสังเกต
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด"นักเรียนจะปฏิบัติตนอย่างไรเมื่อไปสถานที่นั้นๆ
เช่น วัด ตลาด สถานีรถไฟ?"
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการปฏิบัติในแต่ละสถานที่
- แบ่งกลุ่มทำโมเดลสถานที่จากวัสดุต่างๆ เช่น ไม้ไอศกรีม เลโก้
กล่องกระดาษลัง ดินน้ำมัน
- ครูพานักเรียนไปทัศนศึกษา
สถานีรถไฟเพื่อให้นักเรียนได้รู้ถึงการเดินทางว่ามีหลายวิธีในปัจจุบันมีส่วนน้อยที่เดินทางด้วยรถไฟรวมถึงการไปใช้สถานที่การไปใช้บริการนักเรียนจะปฏิบัติตนอย่างไรและสถานีรถไฟยังมีห้องสมุดซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้อีกแหล่ง
และวนอุทยานเขากระโดงเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้สถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัดตลอดจนการไปใช้สถานที่ท่องเที่ยวร่วมกับผู้อื่นร่วมอนุรักษ์ดูแลรักษาสถานที่ท่องเที่ยว
นอกจากนั้นนักเรียนยังได้เรียนรู้ถึงปรากฏการธรรมชาติการเกิดปล่องภูเขาไฟ
- ครูทบทวนกิจกรรมจากการไปทัศนศึกษาเมื่อวาน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดดังนี้
"นักเรียนเห็นอะไรบ้างที่สถานีรถไฟ?"
เห็นใครทำอะไร?และจะปฏิบัติตนอย่างไร"
"ภู เขาไฟเกิดขึ้นได้อย่างไร"
" นักเรียนจะปฏิบัติตนอย่างไรเมื่อไปที่วนอุทยานเขากระโดง"
" เราจะช่วยกันดูแลรักษาสถานที่ท่องเที่ยวอย่างไรบ้าง"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากกิจกรรมทัศนศึกษา
- วาดภาพที่ประทับใจจากไปทัศนศึกษา
-
ครูพานักเรียนทำน้ำยาล้างจานเพื่อให้นักเรียนรู้ทักษะชีวิตและการประหยัดว่าของบางอย่างเราสามารถทำขึ้นมาใช้เองได้ยังปลอดภัยอีกด้วย
- ครูอธิบายอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำ
- ครูพานักเรียนลงมือทำน้ำยาล้างจาน
- ได้ทำน้ำยาล้างจาน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด"นักเรียนคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น?
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำน้ำยาล้างจาน
- ครูให้นักเรียนดูการ์ตูน
"ชุมชนนิมนต์"เพื่อให้นักเรียนได้รู้การอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการ์ตูนที่ได้ดู
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด "ตลอดทั้งสัปดาห์นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
- วาดภาพตัดปะสถานที่ต่างๆในชุมชนที่ประทับใจ
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการปฏิบัติในแต่ละสถานที่
- แสดงความคิดเห็นจากกิจกรรมทัศนศึกษา
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำน้ำยาล้างจาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการ์ตูน"ชุมชนนิมนต์ยิ้ม
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
-โมเดลสถานที่ต่างๆในชุมชน
- วาดภาพที่ประทับใจจากไปทัศนศึกษา
-น้ำยาล้างจาน
- วาดภาพตัดปะสถานที่ต่างๆในชุมชนที่ประทับใจ
|
ความรู้
เข้าใจและเห็นความสำคัญของสถานที่ในชุมชนรวมถึงการปฏิบัติตนร่วมกับผู้อื่นได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด :
ทักษะสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการสังเกต
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆมีน้ำใจช่วยเหลือ
แบ่งปัน
ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
||
เป้าหมายรายสัปดาห์ :นักเรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับอาชีพในชุมชนตลอดจนบทบาทและหน้าที่ของแต่ละอาชีพ
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
7
21-25 ก.ย. 58
|
โจทย์
- อาชีพ
- บทบาท
Key Question
นักเรียนคิดว่าบทบาทหน้าที่ของแต่ละอาชีพเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorm :
Think Pair Share : Black board Share :
Wall Thinking :
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- บุคลากรในสถานที่ต่างๆ
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- สถานีรถไฟ
- วนอุทยานแห่งชาติเขากระโดง
- ทดลองทำน้ำยาล้างจาน
- เกมโยงจับคู่
|
- ครูนำภาพโปสเตอร์อาชีพต่างในชุมชนมาให้นักเรียนดู
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด "นักเรียนคิดว่าในชุมชนของเราทำอาชีพอะไรบ้าง?แต่ละอาชีพมีบทบาทหน้าที่เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?"
- ครูและนักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาชีพและบทบาทหน้าที่ของคนในชุมชน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด "นักเรียนคิดว่าคนในครอบครัวของเราทำอาชีพอะไรบ้าง?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาชีพของคนในครอบครัว
- วาดภาพอาชีพของคนในครอบครัว
- ครูนำคำคล้องจองและภาพประกอบจากเรื่อง
"ชุมชนของหนู"มาให้นักเรียนอ่านพร้อมๆกัน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด"นักเรียนเห็นอะไรบ้าง?
รู้สึกอย่างไร? มีใครบ้าง?
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำคล้องจองเรื่อง
"ชุมชนของหนู"
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด"นักเรียนคิดว่าในชุมชนของเราประกอบอาชีพอะไรมากที่สุด?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาชีพอะไรที่คนในชุมชนทำมากที่สุด
- ปั้นดินน้ำมันอาชีพในชุมชนของตนเอง
- ครูพานักเรียนเล่นปริศนาคำทายอาชีพ
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเกมปริศนา
- ครูเชิญวิทยากร(คุณตาพี่ป๋อ)
มาพูดคุยเกี่ยวกับอาชีพการทำนา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด"ทำไมเราถึงต้องปลูกข้าว?
เรานำข้าวไปทำอะไรได้บ้าง"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาชีพเกษตรกรรม
- นักเรียนสานปลาตะเพียนจากใบมะพร้าว
- ครูพานักเรียนทำการทดลองผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด"นักเรียนคิดว่าจะมีพืชชนิดไหนบ้างที่จะทำสีย้อมผ้าได้?
เพราะอะไร?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทดลองผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ
- นักเรียนทำผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ
- นักเรียนแสดงบทบาทสมมุติอาชีพในชุมชน เช่น
แม่ค้า ตำรวจ พยาบาล/หมอ ครู ชาวนา/ชาวสวน
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากกิจกรรมที่ทำ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด "ตลอดทั้งสัปดาห์นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?"
ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
- วาดภาพอาชีพที่ประทับใจ
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาชีพและบทบาทหน้าที่ของคนในชุมชน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาชีพของคนในครอบครัว
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำคล้องจองเรื่อง
"ชุมชนของหนู"
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาชีพอะไรที่คนในชุมชนทำมากที่สุด
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเกมปริศนา
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาชีพเกษตรกรรม
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทดลองผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับอาชีพในชุมชนตลอดจนบทบาทและหน้าที่ของแต่ละอาชีพได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด :
ทักษะสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการสังเกต
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆมีน้ำใจช่วยเหลือ
แบ่งปัน
ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
||
เป้าหมายรายสัปดาห์ :เข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของโรงเรียน อาชีพต่างๆ และสถานที่ต่างๆในชุมชนตลอดจนสิ่งต่างๆที่เกี่ยวข้องได้
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
8
28 ก.ย.- 1
ต.ค. 58
|
โจทย์
ความสัมพันธ์ของโรงเรียน
อาชีพต่างๆและสถานที่ต่างๆ
Key Question
นักเรียนคิดว่าแต่ละอาชีพมีความสำคัญอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorm :
Think Pair Share :
Black board Share :
Wall Thinking :
Show and Share :
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- นิทาน
- การจำลองเหตุการณ์
- เกมจับคู่
- การทดลองทำสบู่
|
- ครูเล่านิทานเรื่อง ครอบครัวมีสุข
ให้นักเรียนฟัง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด " นักเรียนมีความสัมพันธ์กับครอบครัวอย่างไร?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ในครอบครัวจากนิทานเรื่อง
ครอบครัวมีสุข
นักเรียนวาดภาพครอบครัวของฉัน
- ครูจำลองเหตุการณ์ขึ้นแล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแสดงบทบาทสมมติกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด " นักเรียนคิดว่าถ้าเกิดเหตุการณ์นี้ต้องทำอย่างไร?
ต้องไปพบใคร? ที่ไหน?
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ
- วาดภาพบุคคลและสถานที่ที่กลุ่มเราได้แสดงบทบาทสมมติ
-
ครูให้นักเรียนโยงจับคู่ภาพอาชีพกับสถานที่หรือสิ่งที่เกี่ยวข้องกับอาชีพนั้น เพื่อให้นักเรียนเข้าใจความสัมพันธ์ของอาชีพและสถานที่มากขึ้น
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด " นักเรียนคิดว่าตัวเองมีความสัมพันธ์กับสิ่งใดบ้าง?
ทำไมเราเราต้องมาโรงเรียน?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของแต่ละอาชีพว่าสัมพันธ์กันอย่างไร
- ปะติดรูปภาพบุคคลและสถานที่
- ครูพานักเรียนทดลองทำสบู่
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด " นักเรียนคิดว่าสบู่เกิดจากอะไรได้บ้าง?
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทดลองที่ทำ
- สบู่จากการทดลอง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ตลอดทั้งสัปดาห์นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ในครอบครัวจากนิทานเรื่อง
ครอบครัวมีสุข
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำว่าอาชีพแต่ละอาชีพเกี่ยวข้องกับสถานที่อย่างไร
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของแต่ละอาชีพว่าสัมพันธ์กันอย่างไร
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทดลองที่ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของโรงเรียน
อาชีพต่างๆ และสถานที่ต่างๆในชุมชนตลอดจนสิ่งต่างๆที่เกี่ยวข้องได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด :
ทักษะสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการสังเกต
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆมีน้ำใจช่วยเหลือ
แบ่งปัน
ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
||
เป้าหมายรายสัปดาห์ :นักเรียนเข้าใจ และรับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับโรงเรียน
รวมถึงบุคคลและสถานที่ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมากขึ้น
สามารถปฏิบัติตนตามข้อตกลงของห้องเรียนและโรงเรียนได้อย่างเหมาะสม
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
9
4 ต.ค. - 8 ต.ค. 58
|
โจทย์
สรุปองค์ความรู้
Key Question นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย
" เรามาทำอะไรที่นี่? "
เครื่องมือคิด
Brainstorm :
Wall Thinking :
Show and Share :
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
นิทาน
|
- ครูนำนิทานเรื่อง"หนูเป็นเด็กดี"มาเล่าให้นักเรียนฟังเพื่อให้นักเรียนได้รู้บทบาทหน้าที่ของตน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด " นักเรียนคิดว่าหน้าที่ของนักเรียนตอนอยู่บ้านกับโรงเรียนเหมือนหรือต่างกันอย่างไร?"
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหน้าที่ของนักเรียนทั้งอยู่ที่บ้านและอยู่ที่โรงเรียนรวมถึงการปฏิบัติในสถานที่ต่างๆร่วมกับผู้อื่น
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนเกี่ยวกับสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในหน่วย"
เรามาทำอะไรที่นี่?
โดยครูตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่เด็กได้เรียนรู้
"นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างในหน่วย"
เรามาทำอะไรที่นี่?
- ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ทั้งหมดที่ได้เรียนมาใน
Q2
- วาดภาพสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ใน Q2
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหน้าที่ของนักเรียนทั้งอยู่ที่บ้านและอยู่ที่โรงเรียนรวมถึงการปฏิบัติในสถานที่ต่างๆร่วมกับผู้อื่น
ชิ้นงาน
วาดภาพสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ใน Q2
|
ความรู้
เข้าใจ และรับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับโรงเรียน
รวมถึงบุคคลและสถานที่ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
สามารถปฏิบัติตนตามข้อตกลงของห้องเรียนและโรงเรียนได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด :
ทักษะสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการสังเกต
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆมีน้ำใจช่วยเหลือ
แบ่งปัน
ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์มาตรฐานการเรียนรู้กับพัฒนาการ
หน่วย “เรามาทำอะไรที่นี้ ?” ระดับชั้นอนุบาล 2 ภาคเรียนที่ 1 / 2558 Quarter1
สาระการเรียนรู้
|
พัฒนาการ
|
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
|
สาระ
1.สร้างฉันทะ สร้างแรงบันดาลใจ เผชิญกับปัญหา
2. เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
3.บทบาทบุคลากรในโรงเรียน
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
- ช่างซ่อมบำรุง
- แม่ครัว
- บรรณารักษ์
4. สถานที่ในโรงเรียนและการปฏิบัติตน
-โรงอาหาร
-เรือนเพาะชำ
-ห้องเรียน
-ฟาร์ม
-ห้องประชุม
-ห้องสมุด
5. ความสำคัญ
- เป็นแหล่งเรียนรู้
- เรียนรู้วิถีชุมชน
- เสริมพัฒนาการ
- เสริมสร้างศักยภาพ
6. วัฒนธรรมการอยู่ร่วมกัน
- เคารพซึ่งกันและกัน
- ปฏิบัติตามข้อตกลง
- เคารพในสิทธิส่วนบุคคล
- ตรงต่อเวลา
- มีน้ำใจไมตรีต่อกัน
- ยอมรับฟังความคิดเห็น
7. สถานที่ชุมชน
- วัด
- อบต.
- สถานีอนามัย
- ตลาด
- ครอบครัว
- สถานีตำรวจ
- อำเภอ
8. อาชีพในชุมชน
- ชาวนา
- ชาวสวน
- ชาวไร่
- เลี้ยงสัตว์
- รับจ้าง
- รับราชการ
9.ความสัมพันธ์ของโรงเรียนกับอาชีพของคนในชุมชน
10.สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
|
ด้านร่างกาย
ผู้เรียนมีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่-เล็กในการเคลื่อนไหวร่างกาย ประดิษฐ์ชิ้นงาน ได้แก่
ขีดเขียน วาดภาพบุคคล, ระบายสีไม้, สีเทียน, เล่นกับสีน้ำ เช่น เป่าสี พับสี, ปั้นดินน้ำมัน, ฉีก- ปะ
กระดาษเป็นรูปครอบครัวและสิ่งมีชีวิตอื่น, ต่อเติมภาพตามจินตนาการ, ประดิษฐ์สิ่งมีชีวิตจากเศษวัสดุต่างๆ, ประกอบอาหารที่มีส่วนผสมของน้ำ, เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย
การแสดงบทบาทสมมติ/จินตนาการผ่านท่าทางและสีหน้า
|
พัฒนาการทางด้านร่างกาย
มาตรฐานที่ 1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่ดี และรู้จักรักษาความปลอดภัย
มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 เคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่วและทรงตัวได้
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เล่นและออกกำลังกาย
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 .ใช้มือได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
|
ด้านอารมณ์และจิตใจ
ผู้เรียนมีวินัย ความรับผิดชอบ ปฏิบัติตนตามข้อตกลงร่วมกัน ทำงานจนสำเร็จ และแสดงความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง ได้แก่ การShow and Shareผลงานในแต่ละสัปดาห์ การทำใบงานให้เสร็จตามเวลาที่กำหนด การเก็บของใช้เข้าที่หลังจากทำใบงานหรือประดิษฐ์ชิ้นงาน
- ผู้เรียนช่วยเหลืองานเต็มความสามารถด้วยความ
เต็มใจ เช่น การจัดเก็บอุปกรณ์
เก็บกวาดห้องเรียน อาสาแจกใบงาน/อุปกรณ์ให้เพื่อน
- ผู้เรียนมีมารยาทและปฏิบัติตามวัฒนธรรมไทย ได้แก่ มีมารยาทในการพูดเมื่อต้องการพูดจะยกมือก่อนพูดทุกครั้ง
สนใจฟังเมื่อมีผู้อื่นพูด มีมารยาทในการรับประทานอาหาร ไหว้ขอบคุณเมื่อรับสิ่งของจากผู้อื่นทุกครั้ง
- ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดด้วยการนำเศษวัสดุจากการประดิษฐ์ชิ้นงานทิ้งลงถังขยะอย่างถูกที่
- ผู้เรียนมีความสนใจงานด้านศิลปะโดยเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะอย่างมีความสุข
ได้แก่ การสร้างงานศิลปะด้วยความเต็มใจ การแสดงความชื่นชมและภาคภูมิใจในผลงานศิลปะ
|
พัฒนาการทางด้านอารมณ์ จิตใจ
มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดี
และมีความสุข
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสมกับวัยและสถานการณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 มีความเห็นอก
เห็นใจผู้อื่น
มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ
ดนตรี และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สนใจและมีความสุขกับศิลปะ
ดนตรี และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 แสดงออกทางด้านศิลปะ
ดนตรี และการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 มีความรับผิดชอบ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ซื่อสัตย์สุจริตและรู้ถูกรู้ผิด
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 มีความเมตตากรุณา
มีน้ำใจและ
ช่วยเหลือแบ่งปัน
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ประหยัด
อดออม และพอเพียง
|
|
ด้านสังคม
- ผู้เรียนสนใจเข้าร่วมกิจกรรม เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- ผู้เรียนยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- ผู้เรียนมีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
- ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อครู เพื่อนและผู้อื่น
|
พัฒนาการด้านสังคม
มาตรฐานที่ 6 มีทักษะในการดำเนินชีวิต
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 มีวินัยในตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ระหวังภัยจากคนแปลกหน้าและสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย
มาตรฐานที่ที่ 7
รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
และความเป็นไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 มีสัมมาคารวะและมารยาทตามวัฒนธรรมไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 รักความเป็นไทย
มาตรฐานที่ 8 อยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล
ตัวบ่งชี้ที่ 8.2 มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 8.3
ปฏิบัติตนเบื้องในการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
|
|
ด้านสติปัญญา
- ผู้เรียนสามารถเรียงลำดับเหตุการณ์จากการฟังนิทานหรือเรื่องราวได้
- ผู้เรียนรู้จักตั้งคำถามเพื่อหาเหตุผลและมีความสนใจใฝ่รู้
- ผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสาร
สามารถถ่ายทอดเรื่องราว
เกี่ยวกับครอบครัว
และสิ่งมีชีวิตอื่นจากประสบการณ์ที่ได้พบเห็นให้ผู้อื่นเข้าใจได้
- ผู้เรียนสนทนาโต้ตอบเป็นเรื่องราวกับผู้อื่นได้
- ผู้เรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเอง
- ผู้เรียนสามารถนับ ตัก
ตวงเครื่องปรุงอย่างง่ายๆในการประกอบอาหารได้
|
พัฒนาการด้านสติปัญญา
มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 อ่าน
เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้
มาจรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล
ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 มีความสามารถในการคิดรวบยอด
มาตรฐานที่ 11 มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 เล่น /
ทำงานศิลปะตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 11.2 แสดงท่าทาง
/ เคลื่อนไหวตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
มาตรฐานที่ 12 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 12.1 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 12.2
มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
|
Web เชื่อมโยงหน่วยการเรียนรู้ ระดับชั้นอนุบาล โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
Web เชื่อมโยงหน่วย “เรามาทำอะไรที่นี่?” กับพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
ด้านร่างกาย
|
|||
กล้ามเนื้อมัดเล็ก
- ขีดเขียน วาดภาพ
- ระบายสีไม้ สีเทียน ฝนสี - ปั้นดินน้ำมัน ปั้นแป้งโดว์ - ฉีก ปะ ตัด ติด
- ขยำกระดาษ
- ตัดกระดาษตามเส้น
-
พับกระดาษ
-
ต่อเติมภาพตามจินตนาการ
-
ประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติ / วัสดุเหลือใช้
-
ประกอบอาหาร
-
เล่นกับสีน้ำ เช่น เป่าสี พับสี ฉีดสี
กลิ้งสี พิมพ์สีฯลฯ
|
กล้ามเนื้อมัดใหญ่
- เล่นเครื่องเล่นสนาม
- เล่นกีฬา
เกมการละเล่น เช่น การโยน-รับลูกบอล เป็นต้น
- การเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น
เคลื่อนไหวประกอบเพลง
ประกอบคำบรรยาย เป็นต้น
- กระโดดขาเดียว กระโดดสองขา
- การประดิษฐ์ชิ้นงาน หรือการทดลอง
- การเดิน
การวิ่ง การกระโดด
- การดึง
การดัน การจับ การขว้าง
การเตะ
- การเลียนแบบท่าทางสัตว์ต่างๆ
|
ความสัมพันธ์มือ-ตา
- การขีดเขียน การวาดตามแบบ
- การร้อย
- การต่อบล็อก
- การระบายสี
- การติดกระดุม
- การหยิบจับสิ่งของ
- การเล่นเกม
กีฬา เช่น การรับ-การโยน
- การช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวัน เช่น การรับประทานอาหาร การแต่งกาย
การสวมใส่รองเท้า ถุงเท้า เป็นต้น
- การเล่นเครื่องเล่นสัมผัส
|
|
- การร้องเพลง
การท่องคำคล้องจอง
การทำท่าทางประกอบ
- การฟังนิทาน
การเล่านิทาน
- การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ เช่น เล่นกับเพื่อน เล่นกับครู เล่นเครื่องเล่น ฯลฯ
- การเล่น
การเก็บของเล่น
- การแบ่งปัน การรอคอย
- การบอกความรู้สึก ความต้องการ
- การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวัน
- การรู้บทบาทหน้าที่
- ฯลฯ
|
ด้านสติปัญญา
- การรับรู้และเรียนรู้สิ่งต่างๆ
รอบตัว
- การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการเคลื่อนไหวและการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว
- การใช้ภาษาสื่อความหมาย และความคิด
- การรู้จักสังเกตคุณลักษณะต่างๆ เช่น สี
ขนาด รูปร่าง เป็นต้น
- การจดจำชื่อสิ่งต่างๆ รอบตัว
- การฝึกใช้อวัยวะรับสัมผัสต่างๆ ได้แก่
ตา หู จมูก
ลิ้น และผิวหนัง
- การสนทนาถาม-ตอบ
- การอธิบาย
การนำเสนอสิ่งที่ทำหรือคิด
- เกมการศึกษา
- การทดลอง
ฯลฯ
|
||
Web เชื่อมโยงหน่วย “เรามาทำอะไรที่นี่ ?” กับพัฒนาการสาระพื้นฐาน
ภาษาไทย
|
คณิตศาสตร์
|
ภาษาอังกฤษ
|
วิทยาศาสตร์
|
การฟัง
- ฟังนิทาน
- ฟังเพลงและเคลื่อนไหวทำท่าทางประกอบ
- ฟังและปฏิบัติตามคำสั่ง/ข้อตกลง
- ฟังและตอบคำถาม
- การเป็นผู้ฟังที่ดี
- การฟังและจำแนกเสียง เช่น
เสียงสัตว์
การพูด
- บอกความต้องการ/ความรู้สึก
- สนทนาถาม-ตอบ
- อธิบายสิ่งที่เข้าใจ
- ร้องเพลง
คำคล้องจอง
- แนะนำ/บอกชื่อของสิ่งต่างๆ
- เล่าหรือถ่ายทอดเรื่องราว
เหตุการณ์ที่ได้ฟัง ได้เห็น หรือประสบจริง
- แต่งประโยคจำคำ / ภาพ
- เล่าเรื่องตามภาพ
การอ่าน
- อ่านตามภาพ
- อ่านท่าที
ท่าทาง สีหน้า ลักษณะต่างๆ
- การอ่านคำตามภาพ / สัญลักษณ์
- อ่านตามตัวอย่าง
- การสะกดคำง่ายๆ เช่น
แม่ ก กา
การเขียน
- เขียนตามตัวอย่าง
- เขียนตามจินตนาการ
- การเขียนชื่อตนเอง ฯลฯ
|
การสังเกต การจำแนก
การเปรียบเทียบ
- การจำแนกความเหมือนความต่าง มากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ
- การจัดหมวดหมู่ เช่น รูปร่าง รูปทรง ขนาด สี
น้ำหนัก
- การเรียงลำดับสิ่งต่างๆ
ด้านตัวเลขและจำนวน
- การนับจำนวน ลำดับจำนวน สัญลักษณ์แทนจำนวน
- การรู้ค่าจำนวน
- การดำเนินการเกี่ยวกับจำนวน
ด้านมิติสัมพันธ์
- เข้าใจตำแหน่งที่สัมพันธ์กัน
- เข้าใจระยะ เช่น ใกล้ ไกล ตรงข้าม ระหว่าง
- การเข้าใจทิศทาง เช่น ซ้าย ขวา หน้า หลัง
- การต่อชิ้นส่วนภาพ
ทักษะทางด้านเวลา
- การเปรียบเทียบในเรื่องเวลา
- การลำดับเหตุการณ์ที่สัมพันธ์กัน
- ฤดูกาล
ทักษะการคิด
- การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
- การคิดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
- ความคิดสร้างสรรค์
- การคิดแก้ปัญหา
ทักษะการใช้ภาษา / การสื่อสาร
- การฟัง
- การพูด
- การอ่าน
- การเขียน
|
การฟัง
- ฟังคำสั่งเข้าใจ ปฏิบัติตามได้ เช่น
Sit down , Stan up เป็นต้น
- ฟัง
เข้าใจความหมาย
สนทนาโต้ตอบได้ เช่น What you name ?
My name is…….. What
is this ? It’s a…….
What do like ?
I like ……………
- ร้องเพลง
เข้าใจความหมาย
การพูด
- พูดสนทนาโต้ตอบ
- บอกคำศัพท์เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น
เกี่ยวกับอวัยวะ
เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้
เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต / ไม่มีชีวิต
ฯลฯ
การอ่าน
- อ่านคำศัพท์จากภาพ
- อ่านตามตัวอย่าง
- อ่าน A-Z
การเขียน
- เขียน
A-Z
- เขียนชื่อตัวเอง
- เขียนคำตามตัวอย่าง
|
ทักษะการสังเกต
- ใช้ประสาทสัมผัส ทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้ม กายสัมผัส
- เปรียบเทียบความเหมือนความต่างของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
- เรียงลำดับเหตุการณ์ก่อนหลังของสิ่งต่างๆ
- จัดกลุ่มได้ตามเกณฑ์ง่ายๆ
ที่กำหนดขึ้นเอง เช่น สี รูปร่าง รูปทรง ขนาด น้ำหนัก
ทักษะการตั้งคำถาม
ตั้งคำถามจากสิ่งที่สังเกตหรือสงสัยได้อย่างสมเหตุสมผล
ทักษะการคาดเดาเหตุการณ์
คาดเดาคำตอบและคาดเดาได้อย่างสมเหตุผล
มีความเป็นไปได้ ตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการทดลอง
- เลือกใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์อย่างง่ายได้อย่างเหมาะสม
- ทดลองตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
ทักษะเก็บข้อมูล
วาดภาพสรุปขั้นตอนการทดลองตามความเข้าใจของตนเองและอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจ
ทักษะการสรุปผล
- พูดสนทนาโต้ตอบ / นำเสนอผ่านภาพเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
|